saraban@rbru.ac.th 039-319111 ต่อ 0
มหาวิทยาลัยมีการจัดการฟาร์มที่ใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนใน campus และมีนโยบายในการจัดการ

ขอบเขตเป้าหมายโครงการ:

นโยบายและการบริหารจัดการ
วิจัยและนวัตกรรม
การเรียนการสอน
การมีส่วนร่วมสู่ท้องถิ่น

ผู้รับผิดชอบ :

สำนักบริการวิชาการ

คณะเทคโนโลยีการเกษตร

| วันที่จัดโครงการ 28 ม.ค. 2566 - 31 ธ.ค. 2566


มหาวิทยาลัยสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานของศูนย์เศรษฐกิจพอเพียง คณะเทคโนโลยีการเกษตร เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และบริการวิชาการด้านการเกษตร ให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนอย่างยั่งยืน เช่น การปลูกข้าว พืชผัก ไม้ผล สมุนไพร เห็ด แปรรูป ทำปุ๋ยและปศุสัตว์ นอกจากนี้ในมหาวิทยาลัยยังมีการดำเนินโครงการปลูกรักษาพันธุกรรมพืชอาหาร ผัก และผลไม้ ในพื้นที่ปลูกรักษาพันธุกรรมพืชฯ ด้วย อาทิเช่น เห็ด กระวาน กล้วย ทุเรียน มังคุด ระกำ พริก มะนาว มะเขือเปราะ เป็นต้น เพื่อเป็นแหล่งอาหาร แหล่งเรียนรู้ โดยมีการบูรณาการกับรายวิชาของหลักสูตรต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย และเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอกด้วย
The university supports the operational budget of the Sufficiency Economy Center within the Faculty of Agricultural Technology to transfer agricultural knowledge and provide academic services that benefit the community sustainably. Activities include rice cultivation, vegetable and fruit tree planting, herbal and mushroom cultivation, food processing, fertilizer production, and livestock farming. Additionally, the university conducts a project to conserve the genetic resources of food crops, vegetables, and fruits within the Plant Genetic Conservation Area. Examples include mushrooms, cardamom, bananas, durians, mangosteens, salaccas, chilies, limes, and Thai eggplants. This initiative serves as a food source and a learning resource, integrated into the curriculum of various university programs and shared with external organizations.

ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
ไฟล์ที่แนบ

SDG ที่เกี่ยวข้อง :
    SDG 15 : การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก