มหาวิทยาลัยรักษาและขยายความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศ โดยทำงานโดยตรง เพื่อการรักษาและขยายความหลากหลายทางชีวภาพ ให้คงอยู่ในระบบนิเวศ ทั้งพืช สัตว์ โดยเฉพาะระบบนิเวศภายใต้ สถานการณ์การคุกคาม
ขอบเขตเป้าหมายโครงการ:
วิจัยและนวัตกรรม
การเรียนการสอน
การมีส่วนร่วมสู่ท้องถิ่น
ผู้รับผิดชอบ :
งานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
| วันที่จัดโครงการ 1 ม.ค. 2566 - 31 ธ.ค. 2566
มหาวิทยาลัย โดยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มีกิจกรรมการสำรวจทรัพยากรในพื้นที่ป่า 50 ไร่ เช่น การสำรวจความหลากหลายของพันธุ์ไม้ ผีเสื้อ เห็ด และมีการขยายความหลากหลายทางชีวภาพของทรัพยากร ได้เเก่ การขยายพันธุ์ผีเสื้อแพนซีฟ้า (blue pancy) ปล่อยลงสู่พื้นที่ป่า การเพาะเห็ดกินได้ และมีห้องปฏิบัติการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตรในการดำเนินการขยายพันธุ์และอนุรักษ์พันธุกรรมพืชท้องถิ่นในสภาพปลอดเชื้อ เช่น กล้วยไม้พื้นเมือง และเนตรม่วง และให้บริการวิชาการแก่นักเรียนและผู้สนใจทั่วไป สำหรับการสำรวจและวิจัยทรัพยากรภายนอกมหาวิทยาลัยนั้นมีการสำรวจเห็ดขนาดใหญ่ กก ปลาท้องถิ่น และกาแฟ ในจังหวัดจันทบุรี ซึ่งมีการนำไปใช้ประโยชน์ในด้านการเพาะเลี้ยง แปรรูปอาหาร และบริการวิชาการสู่ชุมชน นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังมีการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในพื้นที่สวนยางพารา เพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการตรวจประเมินมาตรฐาน Forest Stewardship Council โดยการผ่านมาตรฐาน จะทำให้เกษตรกรขายน้ำยางพาราได้ในราคาที่สูงขี้น ซึ่งจะต้องเป็นพื้นที่ที่ไม่มีการรบกวนสิ่งมีชีวิตตามบัญชีแดงของ IUCN
The university, through the Plant Genetic Conservation Project, conducts activities to survey resources in a 50-rai forest area. These activities include surveying the diversity of plant species, butterflies, and mushrooms and enhancing biodiversity by breeding the blue pansy butterfly and releasing it into the forest area. The university also cultivates edible mushrooms and has a plant tissue culture laboratory within the Faculty of Agricultural Technology for propagating and conserving local plant genetic resources in a sterile environment, such as native orchids and endemic species like the Purple Microchirita (Microchirita purpurea). Additionally, the university provides academic services to students and the general public for resource exploration and research. External surveys have been conducted on large mushrooms, reeds, local fish, and coffee in Chanthaburi Province, which are utilized for aquaculture, food processing, and academic services to the community. Furthermore, the university investigates the biodiversity of organisms in rubber tree plantations to gather data for assessing the Forest Stewardship Council (FSC) standards. Meeting these standards will enable farmers to sell latex at higher prices, provided the areas are undisturbed by species listed on the IUCN Red List.
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
ไฟล์ที่แนบ
- กกปอ060966-รายงานโครงการบริการวิชาการฉบับสมบ.pdf
- การสำรวจทรัพยากรปลาท้องถิ่นตำบลฉมัน อำเภอมะขาม.pdf
- รายงานผลดำเนินงานอพสธ2566+cover_ป่าปกปัก.pdf
- รายงานสำรวจชันโรง 66.pdf
- สรุปเล่มรายงานโครงการกาแฟ 1และ2 31 ส.ค 66.pdf
- เสาวภา_Biodiversity and Functional Distribution of Macrofungi from Plant.pdf
- เสาวภา_ความหลากหลายทางชีวภาพสวนป่าสหกรณ์ตราด.pdf
- เสาวภา_รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการวิจัยเรื่องเห็ดน้ำตกพลิ้ว.pdf
SDG ที่เกี่ยวข้อง :
-
SDG 4 : การศึกษาที่มีคุณภาพ
SDG 15 : การใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก
SDG 17 : ความร่วมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน